เครื่องทดสอบวัดค่าความฝืดชนิดลากพ่วง (FRICTION TESTER)
รายละเอียด
เครื่องทดสอบวัดค่าความฝืดของพื้นผิวทางวิ่งแบบต่อเนื่องเคลื่อนที่ด้วยพ่วงลาก ค่าความฝืดได้จากการวัดแรงบิดของเพลาแกนล้อขณะที่ยางสัมผัสกับพื้นผิวทางวิ่ง สามารถตรวจวัดได้ตามมาตรฐานข้อกำหนดของ ICAO สามารถวัดค่าความฝืดของผิวทางได้ตามมาตรฐาน ISO 8349
Sarsys Surface Trailer Friction Tester (STFT) ประสบความสำเร็จในตลาดตั้งแต่เปิดตัวในปี 2546 หลักการเดียวกันกับ SVFT และ SFT ส่วนประกอบส่วนใหญ่เหมือนกัน STFT นั้นมีความสมดุล / น้ำหนักสำหรับการทำซ้ำที่สมบูรณ์แบบของความยาวการตรวจวัดเต็มรูปแบบบนรันเวย์ทางแท็กซี่ถนนและทางหลวง ระบบการรดน้ำด้วยตัวเองบน STFT นั้นอยู่ภายในตัวเครื่องของตัวเครื่อง ซึ่งหมายความว่าคุณไม่จำเป็นต้องมีถังเก็บน้ำพิเศษในรถลากจูง คุณมีทุกอย่างในหน่วยเดียว ด้วยวิธีนี้คุณไม่จำเป็นต้องใช้สายเคเบิลหรือท่อใด ๆ จาก STFT ไปยังรถแม่ข่าย คุณสามารถใช้รถลากจูงที่มีอยู่ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดายโดยไม่ต้องต่อสายเคเบิลและสายยางใด ๆ
อุปกรณ์เครื่องวัดค่าความฝืด (ความเสียดทาน) ของพื้นผิวทางวิ่ง
1.เครื่องวัดค่าความฝืดของพื้นผิวทางวิ่งเป็นแบบรถพ่วงลาก
2 ด้านหน้าของล้อทดสอบติดตั้งหัวจ่ายน้ำสำหรับสเปรย์น้ำ เพื่อให้ได้ค่าความฝืดผิวจราจรภายใต้การจำลองสภาพยานพาหนะที่วิ่งบนผิวจราจรในขณะที่มีฝนตก
3 สามารถวัดความฝืดของพื้นผิวทางวิ่งได้ตามมาตรฐาน ICAO
4 ล้อทดสอบสามารถให้น้ำหนักกดต่อพื้นผิวทางวิ่งได้ 140 กิโลกรัม ตามมาตรฐาน ICAO โดยให้แรงกดด้วยระบบ Gas cylinder
5 ติดตั้งอุปกรณ์วัดค่าแรงกดที่กระทำต่อล้อทดสอบ (VERTICAL TRANDUCER)
6 ติดตั้งอุปกรณ์วัดระยะทางและความเร็วในขณะตรวจวัด
7 ติดตั้งอุปกรณ์วัดอุณหภูมิพื้นผิวทางวิ่งและวัดอุณหภูมิอากาศ
8 ติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียม เพื่อระบุพิกัดภูมิศาสตร์ (GPS)
9 ล้อทดสอบจะต้องมีค่าเปอร์เซ็นต์ FIXED SLIP 13%
10 ติดตั้งอุปกรณ์วัดแรงบิดที่เกินขึ้นบนสายพานหรือโซ่ส่งกำลังไปยังล้อทดสอบ เพื่อนำค่าแรงบิดมาวิเคราะห์ค่าความฝืดต่อไป
11 ติดตั้งระบบพับเก็บล้อทดสอบด้วยระบบ Linear actuator
12 มียางอะไหล่ล้อทดสอบตามมาตรฐาน ASTM E 1551 จำนวน 2 ล้อ 4.2
ชุดควบคุมและประเมินผลข้อมูล
1 ระบบปฏิบัติการพื้นฐาน (SOFT WARE) เป็นระบบวินโดว์ (WINDOWS)
2 จอแสดงผล ขนาดไม่น้อยกว่า 10 นิ้ว และเป็นแบบจอสัมผัส (TOUCHSCREEN)
3 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) มีความเร็วไม่น้อยกว่า 500 MHz
4 หน่วยความจำหลัก (RAM) มีความจุไม่น้อยกว่า 512 MB
5 อุปกรณ์บันทึกข้อมูล (HARD DISK DRIVE) มีความจุไม่น้อยกว่า 4 GB
6 อุปกรณ์ WIRELESS LAN มาตรฐาน 802.11 B/G
7 อุปกรณ์เชื่อมต่อการใช้งานแบบ BLUETHOOTH
8 ในการตรวจวัดความฝืด สามารถบอกค่าเฉลี่ยความฝืดตามความยาวระยะทางทุก ๆ 100 เมตร
9 สามารถส่งผ่านข้อมูลค่าตรวจวัดความฝืด ผ่านช่อง USB (UNIVERSAL SERIEL BUS) ในรูปแบบไฟล์ PDF (PORTABLE DOCUMENT FORMAT) หรือ EXCEL
10 กรณีเครื่องทดสอบมีปัญหา ผู้ผลิตสามารถควบคุมเครื่องทดสอบผ่านทางอินเตอร์เน็ตเพื่อวิเคราะห์และตรวจสอบปัญหาได้
วิดีโอสอนการใช้งานเครื่องทดสอบวัดค่าความฝืดของพื้นผิวทาง
แนะนำตัวเครื่อง ASFT T-5 เครื่องทดสอบวัดค่าความฝืดชนิดพ่วงลาก (Friction Tester)
การบอกตำแหน่ง Lock-FreeLock เครื่องทดสอบวัดค่าความฝืดชนิดพ่วงลาก (Friction Tester)
วิธีการทดสอบค่าความฝืด เครื่องทดสอบวัดค่าความฝืดชนิดพ่วงลาก (Friction Tester)